facebook

วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

สาระน่ารู้เจียวกู้หลาน

สาระน่ารู้เจียวกู้หลาน เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้
    เจียวกู้หลานมีคุณประโยชน์หลากหลายต่อร่างกาย เราควรมาทำความรู้จักกับเจียวกู่หลานให้มากขึ้น ดังนั้นเราจึงรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเจียวกู่หลานเพื่อให้ท่านที่เข้ามาแวะเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราดังต่อไปนี้
    เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้ 1.ชื่อเรียกต่างๆของเจียวกู้หลาน เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้
- เจียวกู้หลานชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gynostemma pentaphyllum Makino
- เเจียวกู้หลานป็นพืชในวงศ์ cucirbitaceae
- เจียวกู้หลานคนจีนนิยมเรียกว่า เจียวกู้หลาน ( Jiaogolan ) หรือ ชีเย่ตั่น หรือเซียนเฉา แปลว่า สมุไพรอมตะหรือโสมใต้ ( Southern Ginseng )
- เจียวกู้หลานคนไทยเรียกว่า ปัญจขันธ์ หมายถึง บำรุงขันธ์ห้าบางคนเรียก โสมคน
- เจียวกู้หลาน
ที่ญี่ปุ่น คือ อมาซาซูรุ แปลว่า ชาหวานจากเถา
- เจียวกู้หลานประเทศทางตะวันตก เรียกเป็นภาษาอังกฤษหลายชื่อ เช่น Miracle glass ( หญ้ามหัศจรรย์ ) หรือ Southern Ginseng ( โสมใต้ ) หรือ 5-Leaf dinseng หรือ โสม 5 ใบ
ดังนั้น "เจียวกู้หลาน" จึงนับเป็นหญ้าสารพัดชื่อที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน

   
เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้ 2.ลักษณะทางกายภาพเจียวกู้หลานและแหล่งกำเนิด เป็นพืชล้มลุกชนิดไม้เถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกตามข้อ มีใบ 3-7 ใบขึ้นอยู่กับสายพันธ์ มีขนอ่อนเล็กๆ สีขาวปกคลุมที่ใบทั้งด้านบนและด้านล่าง ดอกแยกเพศ ขนาดเล็กสีเขียวออมเหลือง ผลกลม เมื่อแก่จัดจะมีสีดำ ภายในมีเมล็ด 3-4 เมล็ดขยายพันธ์โดยเพาะเมล็ด แต่นิยมใช่เถาปักชำ ในฤดูฝนจะหยุดการเจริญเติบโต แต่ส่วนใต้ดินยังเจริญมักพบให้ภูมิภาคเขตร้อน/เขตอบอุ่นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งต่อมามีการกระจายพันธ์ไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นอื่นๆ ทั่วโลก สามารถขึ้นได้เองตามธรรมชาติ ชอบอากาศเย็นพื้นที่ควรสูงจากระดับน้ำทะเล 300-3,200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ขึ้นได้ตามภูเขามากกว่าหุบเหว สองปากทางมักพบที่มีความชั้นสูงความชั้นสัมพันธ์มากกว่าร้อยละ 80 มีปริมาณแสงประมาณร้อยละ 40-60 ลักษณะดินที่ปลูกมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนหรือด่างอ่อนและมีความสมบูรณ์
ในสาธารณประชาชนจีนพบเจียวกู้หลานเจริญงอกงามอยู่ตามแถบภูเขาฉินหลง และเขตมณฑลทางใต้ในประเทศไทยมีรายงานการสำรวจพบพืชชนิดนี้ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในพื้นที่ทางภาคเหนือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2465 ที่ดอยอิทนนท์ แต่ไมปรากฎการใช้ประโยชน์ที่แพร่หลาย ปัจจุบันปลูกในจังหวัดเชียงใหม่ เจียวกู้หลาน
ยังไม่แพร่หลายนัก เพราะมีปัญหาเรื่องความแข็งแรงของต้นพันธุ์ อีกทั้งเป็นพืชล้มลุกและตายง่ายวิธีการปลูกเจียวกู่หลานให้ได้ผลผลิตคุณภาพ ดีในการปลูกบนพืชที่ขนาดใหญ่คือการเพาะเลี้ยงเนื่อเยื่อจากส่วนใบ
   
เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้ 3.การนำเจียวกู้หลานไปใช้ประโยชน์ จะนำส่วนที่อยู่เหนือดินทั้งก้านและใบ คุณค่าของสารสำคัญและรสชาติของเจียวกูหลานขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ที่ปลูกเจียวกูหลานที่ขึ้นตามธรรมชาติจะมีปริมาณของสารสำคัญสูงสุดและมีรสชาติเข้มข้นส่วนที่ปลูกจะมีรสหวาน เจียวกูหลานมีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นที่รู้จักของชาวจีนตั้งแต่อดีตเป็นอย่างดี มีคุณประโยชน์ที่พร้อมสรรทั้งในเชิงป้องกันและบำรุงร่างกายมีประวัติการใช้ยาวนานในประเทศจีนและญี่ปุ่น เช่น ในจีนใช้ทั้งเป็นยาแก้อักเสบ แก้ไอ ขับเสมหะ และแก้หลอดลมอักเสบ เจียวกูหลานใช้รับประทานแก้หิวยามกระหาย ใช้เป็นยาแก้ไอและแก้อักเสบร้อนใน ต่อมาก็เริ่มมีการคิดค้นคว้าวิจัยและพัฒนาใช้เจียวกูหลาน ในการผลิตยาและเหล้า รวมถึงเป็นอาหารเสริม จากการศึกษาด้านคลินิกและด้านเภสัชทั้งในประเทศจีนและต่างประเทศพบว่า เจียวกู่หลานเป็นสมุนไพรที่ใช้รับประทานเป็นประจำได้ไม่ว่าจะใช้ทั้งต้นหรือ สกัดออกมา โดยจะประกอบด้วยตัวยามากกว่า 50 ชนิดซึ่งมีตัวยาเหมือนโสมคน 4 ชนิดได้แก่ Ginsenosides Rb 1 Rd และ F3 รวมอยู่ด้วย ดังนั้นเจียวกูหลานไม่เพียงมีคุณสมบัติเทียบเท่ากับโสมคนเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ได้อย่างสบายโดยไม่ต้องกังวลซึ่งต่างจากโสมคน หากใช้เกินขีดปริมาณที่กำหนดอาจเกิดผลข้างเคียงได้ ปัจจุบันมีการใช้เป็นสมุนไพรในรูปแบบชาชงสมุนไพร บำรุงร่างกายและใช้เป็นอาหารสุขภาพ สำหรับในประเทศไทยมีบันทึกการใช้ประโยชน์ปัญจขันธ์ในยาพื้นบ้านของชาวเขาเผ่าลาหู่ (มูเซอ ) ใช้ทั้งต้นเป็นยารักษาแผล รักษากระดูกและอาการปวดกระดูก
   
เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้ 4.การเพาะปลูกเจียวกู้หลานในเชิงพาณิชย์ ปลูกโดยปล่อยทอดเถานอนบนแปลงดินดีกว่าเกาะไม้เพราะกิ่งก้านจะพันกันทำให้เก็บเกี่ยวยาก ควรปลูกในฤดูหนาวและทยอยเก็บเกี่ยวจนได้ต้นฤดูฝน ชอบอากาศเย็นชุมชื่นอุณหภูมิประมาณ 13-20 องศา แสงสว่างรำไรๆ ไม่ชอบชื่นและอากาศร้อนไม่ชอบสารเคมีทุกชนิด ควรขยายพันธุ์โดยการปักชำ การพิจารณาเลือกกิ่งพันธุ์ ให้เลือกที่กิ่งแก่พอประมาณโดยนับจากโคนมาประมาณ 3-4 ใบใช้ส่วนนั้นเป็นกิ่งพันธุ์
วิธีการขยายพันธุ์เจียวกู้หลาน
และ วิธีการปลูกเจียวกู้หลาน นำดินร่วนให้ได้เฉพาะดินละเอียดจริงๆตักใส่ถุงเพาะชำพรมน้ำให้ชุ่มชื่นทิ้งไว้ประมาณ 1 คืนต่อจากนั้นใช้ไปปักนำร่องเป็นทางให้กิ่งปักชำลงไปในถุงนำไปไว้ในโรงเรือนอนุบาลที่มีหลังคาพรางแสงคลุมด้วยพลาสติกอีกชั้น เพื่อป้องกันฝน ต้นไม้ชนิดนี้เป็นไม้อาศัยร่มเงาของต้นไม่ใหญ่และอากาสดีเย็นๆ ต่อจากนั้นใช้เวลาประมาณ 15 วันถึง 1 เดือนจึงนำไปปลูกในแปลงดินที่ต้องเป็นดินร่วนปนทราย พรวนดินให้ละเอียดแล้วคลุมด้วยปูนอินทรีย์ ถ้าเป็นมูลค้างคาวได้ยิ่งเป็นการดีจากนั้นคอยรดน้ำใส่ปุ๋ยอินทรีย์ 15 วันต่อครั้ง คอยดูแลกำจัดวัชพืชควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 4-5 เดือนรุ่นหนึ่ง
   
เจียวกู่หลาน เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานป่า เจียวกู่หลานป่า เจียวกูหลานป่า เจียวกู้หลานธรรมชาติ เจียวกู่หลานธรรมชาติ เจียวกูหลานธรรมชาติ ข้อมูลความรู้  5.การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เจียวกู้หลาน สถานบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ร่วมมือกับองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ จ.เชียงใหม่ทำการทดลองปลูกพืชสมุนไพรดังกล่าวในเขตพื้นที่ 5 สวนป่าทางภาคเหนือขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งได้แก่ สวนป่าหลวงสันกำแพง สวนป่าแม่แจ่ม สวนป่าแม่หอพระ สวนป่าบ้านหลวง จังหวัดเชียงใหม่และส่วนป่าอูคอ จ.แม่ฮ่องสอน ซึ่งการทดลองปลูกเจียวกูหลานในพื้นที่ดังกล่าวนั้นจะเป็นการเปรียบเทียบระหว่างสายพันธุ์จีนกับสายพันธุ์ไทย เพื่อศึกษาตัวสมุนไพรและเอกลักษณะของสารที่อยู่ในตัวสมุนไพร โดยการดำเนินงานในแต่ละสวนจะใช้พื้นที่ 40 ตารางเมตรซึ่งแบ่งโดยแยกปลูกพันธุ์ไทยและพันธุ์จากประเทศจีน คืน สายพันธุ์ไทยโครงการหลวง 20 ตารางเมตรและสายพันธุ์จากประเทศจีน 20 ตารางเมตร
นอกจากนี้ยังมีการทดลองปลูกเปรียบเทียบกันใน 5 จังหวัดกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย เพื่อศึกษาว่าพื้นที่ใดเหมาะสมที่จะปลูกเจียวกู
หลาน หลังจากปลูกสมุนไพรชนิดเป็นเวลา 2 เดือน พบว่าเจียวกูหลานพันธุ์จีนเจริญเติบโตดีกว่าพันธุ์ไทย ในภาคกลางให้ใบดีกว่าภาคอื่นๆ หลังจากได้เก็บใบเจียวกูหลาน 2 พันธุ์มาตรวจสอบสารสำคัญพบว่า พันธุ์จีนมีสารสำคัญร้อยละ 18-19 ส่วนพันธุ์ไทยมีสารสำคัญร้อยละ 12-13 โดยใบกิ่งงอกงามดีมีสำคัญน้อยกว่าใบที่ไม่ค่อยสวยพื้นที่ภาคเหนือมีสารสำคัญมากกว่าภาคอื่นๆ เบื้องต้นหากจะปลูกเจียกู่หลานควรเลือกพันธุ์ที่ภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย เป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น